ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนนต์ สิปปภากุล
ผมขอนำเอาบทความที่มีผู้เขียนถึงลัทธิเต๋า โดยไม่ทราบว่าผู้ใดเป็นเจ้าของบทความเดิมนี้ เนื่องจากผมไปอ่านเจอในเฟสบุ๊คของเพื่อน จึงอ้างอิงมาจากเฟสบุ๊คของคุณชวาลา ชัยมีแรง เพื่อนผู้นี้เคยเรียนศิลปกรรมเทคโนโคราชมาด้วยกัน ชวาลา ชัยมีแรง เป็นนักแต่งเพลงผู้มีชื่อเสียงของเมืองไทย เพลงดังที่รู้จักกันดีก็คือ เพลงแสงจันทร์ ที่ร้องโดยมาลีฮวนนานั้นแหละคือเพลงที่เขาแต่งขึ้น จึงขอบคุณเจ้าของบทความเดิม และคุณชวาลา ชัยมีแรง มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ
ลัทธิเต๋า
เมื่อ 3,000 ปีมาแล้ว ชาวจีนตามลุ่มแม่น้ำเหลือง มีความเคารพธรรมชาติ เช่น ภูเขา แม่น้ำ ต้นไม้ ฯลฯ เป็นอย่างสูง แต่อันที่จริงเป็นการนับถือ
1) หยาง (Positive Power) คือพลังบวกมีลักษณะสีแดง เป็นพลังเพศชาย พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ค
2) หยิน (Negative power) คือพลังลบ มีลักษณะสีดำ เป็นพลังเพศหญิง พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ค
สวรรค์เป็นหยางแทบทั้งหมด และโลกเป็นหยินแทบทั้งหมดเช
ในระหว่างคริสตวรรษที่ 5 - 6 มีศาสดาทางศาสนาและปรัชญาเก
ชื่อจริงของเล่าจื้อ คือ ลี - เออร์ (Li Uhr) เกิดเมื่อปี 604 ก่อนคริสต์ศักราช ที่จังหวัดโฮนานประเทศจีน ตอนเมื่อเกิดนั้น กล่าวกันว่า พอคลอดออกมาก็เป็นคนมีผมหงอ
เล่าจื้อ ไม่ชอบชีวิตหรูหรา แต่ทุกคนดูเหมือนจะมุ่งมั่น
คัมภีร์ที่เล่าจื้อเขียนนี้
เต๋าไม่ใช่พระเป็นเจ้า แต่เป็นพลังหรืออำนาจที่หลั
ลัทธิเต๋ามีกำเนิดในประเทศจ
ปรัชญาเต๋าเป็นระบบความคิดที่โดดเด่นต่างจากปรัชญาอื่น ๆ ของจีน กล่าวคือ มีแนวคิดที่นอกจากจะเน้นหนักในทางจริยศาสตร์แล้ว ยังมีแนวคิดทางด้านปรัชญาการเมืองและทัศนะในทางอภิปรัชญาค้นหาอันติมสัจจ์ที่เป็นรากฐานแห่งสรรพสิ่ง ตรงจุดนี้เองที่ทำให้ปรัชญาเต๋ายังคงยืนหยัดท่ามกลางกระแสปรัชญาอื่น ๆ ของโลกในปัจจุบันแม้นวันเวลาจะผ่านพ้นไปนานก็ตาม ปรัชญาเต๋า ยังคงเป็นสิ่งที่น่าศึกษาค้นคว้าสำหรับผู้รักการแสวงหาความจริง
ก่อนที่จะกล่าวถึงระบบแนวคว
คัมภีร์ที่สำคัญที่สุดของลั
โวหารที่ใช้ในคัมภีร์เต๋าเต
ดังที่ได้ทราบมาแล้วว่า คัมภีร์เต๋าเต๋อจิงนี้มี 2 ภาค คือ "เต๋าจิง" และ "เต๋อจิง" เต๋าจิงเริ่มตั้งแต่บทที่ 1 - 37 อธิบายถึงความคิดที่เกี่ยวก
ความจริงสุงสุดที่ลัทธิเต๋า
"...เต๋าที่อธิบายได้ม
ชื่อที่ตั้งให้กันได้ ก็มิใช่ชื่ออันสูงส่ง
เต๋านั้นมิอาจอธิบาย และมิอาจตั้งชื่อ
เมื่อไร้ชื่อทำฉันใด จักให้ผู้อื่นรู้
ข้าพเจ้าขอเรียกสิ่งนั้นว่า
.............
บ่อเกิดนั้นสุดแสนลึกล้ำ
ความลึกล้ำสุดแสนนั้น
คือประตูที่เปิดไปสู่ความรู
นอกจากนี้แล้ว ในเต๋าเต็กเก็งบทที่ 6 ได้ทำให้เราเห็นความยิ่งใหญ
"อหิทธานุภาพอันล้ำลึกนั้นม
เป็นมารดาอันมหัศจรรย์
จากทวาราแห่งมารดานี้เอง
ได้ก่อเกิดรากฐานแห่งฟ้าและ
สำหรับในบทที่ 25 ได้ทำให้เราเห็นและเข้าใจใน
"ก่อนดำรงอยู่ของฟ้าและดิน
มีบางสิ่งบางอย่างมืดมัวเคล
เงียบงันโดดเดี่ยว
อยู่เพียงลำพัง ไม่แปรเปลี่ยน
เป็นอมตะหมุนเวียนไม่หยุดยั
มีค่าควรแก่การเป็นมารดาของ
ข้าพเจ้าไม่ทราบชื่อสิ่งนั้
แต่ถ้าถูกบังคับให้เรียก
ก็จะเรียกว่า "เต๋า"
และจะให้ชื่อว่า "ยิ่งใหญ่"
ยิ่งใหญ่หมายถึงความต่อเนื่
ความต่อเนื่องหมายถึงความยา
ความยาวไกลหมายถึงการกลับสู
ดังนั้นเต๋าจึงยิ่งใหญ่
ฟ้าจึงยิ่งใหญ่
ดินจึงยิ่งใหญ่
ปราชญ์จึงยิ่งใหญ่
นี่คือความยิ่งใหญ่สี่ชนิดใ
และปราชญ์ก็นับเป็นหนึ่งในน
คนทำตามกฎแห่งดิน
ดินทำตามกฎแห่งฟ้า
ฟ้าทำตามกฎแห่งเต๋า
เต๋าคงอยู่และเป็นไปด้วยตนเ
ดังได้กล่าวมาแล้วนี้เราอาจ
"รักษาดวงวิญญาณให้พ้นจากคว
ทำจิตให้แน่วนิ่งเป็นหนึ่งเ
หายใจอย่างละเอียดอ่อนแผ่วเ
เหมือนลมหลายใจของเด็กอ่อนไ
ชำระล้างญาณทัศนะให้หายมืดม
จนอาจแลเห็นกระจ่างชัดได้หร
มีความรักและปกครองอาณาจักร
โดยไม่เข้าไปบังคับบัญชาได้
ติดต่อรับรู้ และเผชิญทุกข์สุข
ด้วยความสงบนิ่งไม่ทุกข์ร้อ
แสวงหาความรู้แจ้ง
เพื่อละทิ้งอวิชชา ได้หรือไม่
ให้กำเนิด ให้การบำรุงเลี้ยง
ให้กำเนิด แต่มิได้ถือตนเป็นเจ้าของ
กระทำกิจ แต่มิได้ยกย่องตนเอง
เป็นผู้นำในหมู่ตน แต่มิได้เข้าไปบงการ
เหล่านี้คือคุณความดีอันลึก
(พจนา จันทรสันติ. 2523 : 67
การรักษาจิตให้บริสุทธิ์ คือ การเข้าถึงตัวตนภายในอันเป็
เราอาจสรุปได้ว่าคำสอนของเต๋ามุ่งให้บุคคลเข้าสู่สาระแห่งแก่นแท้โดยตรง โดยละความยึดถือมั่นในสิ่งทั้งปวง เป็นผู้อยู่พ้นจากความสงสัย ไปพ้นจากการแบ่งแยก ไม่ให้คุณค่าแก่สิ่งที่คนส่วนมากยึดถือ สลัดความหยิ่งยะโสโอหังออกไป สลัดความฉลาดและความเป็นคนเจ้าเหตุผล แต่หวนกลับมาดำรงชีวิตอยู่กับธรรมชาติ มีชีวิตที่เรียบง่าย มีใจที่บริสุทธิ์ปราศจากความอยากความต้องการในสิ่งทั้งหลายทั้งปวง ความสงบจึงจะเกิดขึ้นได้ ดังคำกล่าวในเต๋าเต๋อจิงบทที่ 37 ความว่า
"เต๋าไม่เคยกระทำ
แม้กระนั้นทุกสิ่งทุกอย่างก็สำเร็จลุล่วงลง
หากกษัตริย์และเจ้านครสามารถรักษาเต๋าไว้ได้
โลกก็จะเปลี่ยนแปลงไปโดยความต่อเนื่อง
เมื่อโลกเปลี่ยนแปลงไป และเกิดการกระทำต่าง ๆ ขึ้น
จงปล่อยให้ความเรียบง่ายแต่บรรพกาลเป็นผู้ควบคุมการกระทำ
ความเรียบง่ายแต่บรรพกาลนี้ไร้ชื่อ
มันช่วยขจัดความอยากทั้งปวง
เมื่อขจัดความอยากได้
ความสงบย่อมเกิดขึ้น
ดังนั้นโลกย่อมถึงซึ่งสันติสุข"
(พจนา จันทรสันติ. 2523 : 67)
อย่างไรก็ตามรากฐานสำคัญที่จะนำบุคคลไปสู่ชีวิตที่เรียบง่ายนั้น ท่านเหลาจื๊อได้กล่าวไว้มี 3 ประการ คือ
1. การมีความรัก จะช่วยให้เรากล้าหาญ
2. การทำแต่พอควร จะทำให้เราเป็นคนเรียบง่ายมีจิตใจกว้างขวาง
3. การไม่เป็นเอกในโลก ทำให้เรารู้จักเป็นผู้ตามที่ดี
คุณธรรม 3 ประการนี้เป็นหลักปฏิบัติที่จะทำให้บุคคลได้รับชันะและปลอดภัยจากความทุกข์ทั้งปวงในโลก ซึ่งเราจะศึกษาได้จากเต๋าเต็กเก็งบทที่ 67 เต๋าเต๋อจิง บทที่ 80
"หวังให้ประเทศเล็กที่มีพลเมืองน้อย
มีอาหารพอที่จะเลี้ยงดูพลเมือง
มากกว่าที่เขาต้องการถึงสิบเท่าร้อยเท่า
ให้ประชาชนเห็นคุณค่าของชีวิต
และไม่ท่องเที่ยวพเนจรไปไกล
ถึงแม้จะมีพาหนะเรือและรถ
ก็ไม่มีใครปรารถนาจะขับขี่
ถึงแม้จะมีเกราะและอาวุธ
ก็ไม่มีโอกาสจะใช้
ให้กลับไปใช้การจดจำเรื่องราว
ด้วยการผูกเงื่อนแทนการเขียนหนังสือ
ให้เขานึกว่าอาหารพื้น ๆ นั้นโอชะ
บ้านเรือนธรรมดานั้นสุขสบาย
ประเพณีวิถีชีวิตนั้นน่าชื่นชม
ในระหว่างเพื่อนบ้านนั้นต่างเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน
จนอาจได้ยินไก่ขันสุนัขเห่าจากข้างบ้าน
และตราบจนวันสุดท้ายของชีวิต
จะไม่มีใครได้เคยออกไปนอกประเทศของตนเลย"
(พจนา จันทรสันติ. 2523 : 67)
บทที่ 80 นี้ แสดงให้เห็นถึงประเทศในอุดมคติของท่านเหลาจื๊อที่ต้องการให้มีรูปแบบที่เรียบง่ายไม่เนนความเป็นวัตถุนิยม แต่ส่งเสริมทางด้านจิตวิญญาณและให้คุณค่าของชีวิต วิถีชีวิตที่เรียบง่ายนี้จะทำให้ผู้คนมีความสุขในประเทศของตน โดยไม่จำเป็นต้องออกไปแสวงหาที่อื่น
ประเทศในอุดมคติของท่านเหลาจื๊อเป็นเพียงประเทศเล็ก ๆ ที่มีพลเมืองน้อย เพราะท่านไม่เห็นด้วยกับการล่าอาณานิคม หรือการแสวงหาดินแดนเป็นเมืองขึ้น เพราะจะทำให้ประเทศใหญ่โตเกินไปจนยากที่จะปกครองได้ทั่วถึง และเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดกฎบัญญัติข้อบังคับต่าง ๆ ออกมามากมาย ประเทศน้อย คนน้อย ความสิ้นเปลืองทางเศรษฐกิจย่อมน้อยอันเป็นไปตามสัดส่วนการปกครองจึงเป็นไปได้ง่ายกว่า ทฤษฏีนี้เรียกว่า "เซียวก๊กกั้วมิ้น" ท่านเสถียร โพธินันทะ (2514 : 214) แปลว่า "ทำให้เป็นรัฐเล็ก ๆ มีพลเมืองน้อย ๆ " ความคิดทางการเมืองของท่านเหลาจื๊อนี้ นักทฤษฏีการเมืองในโลกปัจจุบันบางท่านอาจจะไม่เห็นด้วย โดยเฉพาะกลุ่มประเทศมหาอำนาจที่มีพื้นดินและจำนวนประชากรมาก การปกครองแบบเสรีนิยมและธรรมชาตินิยมของท่านเหล่าจื๊อจึงยากที่จะปฏิบัติได้ในยุคปัจจุบันจนกวาเมื่อใดก็ตามทโลกที่เราอยู่นี้มีมนุษย์ที่หมดความเห็นแก่ตัวแล้ว เมื่อนั้นทฤษฎีทางการเมืองแบบเซียวก๊กกั้วมิ้นอาจจะถูกนำมาใช้ปฏิบัติให้เห็นจริงได้
ก่อนกำเนิดปรัชญาเต๋านั้นชาวจีนเคยนับถือธรรมชาติ เพราะเขาสังเกตเห็นว่าธรรมชาติมีคุณลักษณะสำคัญ 3 ประการคือ
1. ความเป็นวัฎจักรที่หมุนเวียนเปลี่ยนแปลงไปอย่างเป็นระบบ เช่น การเกิดขึ้นของกลางวันและกลางคืน การหมุนเวียนเปลี่ยนไปของฤดูกาล ทำให้เกิดสภาพอากาศที่หลากหลายกันออกไปในแต่ละปี
2. มีการเกิดและดับตลอดเวลาเช่นความสว่างไสว และความมืดของพระจันทร์ทำให้เกิดข้างขึ้นข้างแรม
3. ความเป็นเอกภาพเดียวกันแม้นว่าเราจะเห็นว่า ธรรมชาติที่ปรากฎแก่ตามีความหลากหลายนับไม่ถ้วน ทำให้เกิดคุณสมบัติเฉพาะตัวบางอย่างก็คล้ายคลึง บางอย่างก็ตรงกันข้ามกัน แต่แท้จริงแล้วทั้งหมดนี้ล้วนเป็นเอกภาพเดียวกัน
ด้วยสาเหตุดังได้กล่าวมาแล้วนี้ จึงทำให้นักปราชญ์จีนหลายท่านพยายามค้นหาความลี้ลับของธรรมชาติ ทำให้แนวคิดในเรื่องวิญญาณและผีได้แทรกเข้ามาปะปน จนเกิดความคิดที่ว่ามีวิญญาณแฝงอยู่ในธรรมชาติ วิญญาณที่ว่านี้มีตั้งแต่วิญญาณที่อยู่ในท้องฟ้าซึ่งเรียกว่าเทพแห่งฟ้า หรือเทพแห่งสวรรค์ (ภาษาจีนมีคำเรียกพระเจ้าผู้ยิ่งใหญ่นี้ว่า "เทียน") ไล่ลงมาจนกระทั่งถึงเทพที่อยู่บนพื้นดิน ภูเขา ต้นไม้ ลำธาร แม่น้ำ ฯลฯ ลักษณะความเชื่อเช่นนี้เป็นแบบพหุเทวนิยม (Polytheism) กล่าวคือ เทพเจ้าแต่ละองค์ต่างมีฤทธิ์อำนาจ ถ้ามนุษย์คนใดต้องการบรรลุถึงซึ่งความปรารถนาของตน จะต้องกราบไหว้เซ่นสรวงเทพเจ้าแต่ละองค์แล้วแต่กรณี บางกลุ่มชนอาจจะยกย่องเทพเจ้าองค์หนึ่งให้ยิ่งใหญ่กว่าองค์อื่น ๆ แต่ในขณะเดียวกันเทพองค์ที่ยิ่งใหญ่นี้อาจจะถูกลดความสำคัญลงสำหรับอีกกลุ่มชนหนึ่ง
อย่างไรก็ตามโดยทั่ว ๆ ไปแล้ว ชาวจีนในสมัยโบราณนั้นนิยมยกย่องเทพแห่งสวรรค์ให้เป็นใหญ่กว่าเทพองค์อื่น ๆ เป็นเทวาดิเทพที่ต้องมีการเซ่นสรวงบูชาอยู่เสมอ และการทำพิธีกรรมเซ่นสรวงบูชานั้นสามัญชนไม่วสามารถกระทำได้ นอกจากพระมหากษัตริย์เท่านั้น เพราะเชื่อกันว่าพระองค์เป็นโอรสแห่งสวรรค์จึงมีหน้าที่ที่จะต้องกระทำการเซ่นไหว้เป็นประจำทุกปี จนกลายเป็นรัฐพิธีที่ใหญ่โตจะละเว้นมิได้เลย ในการเซ่นไหว้แต่ละครั้งนิยมฆ่าสัตว์นำมาสังเวยพร้อมกับข้าวปลาอาหาร รวมทั้งสุรา ที่มีรสเป็นเลิศ การทำพิธีกรรมแต่ละครั้งจะมีความประณีตในการถวายของบูชา เพราะมีผลต่อความเป็นอยู่ของอาณาประชาราษฏณ์ ปีใดที่เกิดความอดอยากแห้งแล้ง ยิ่งต้องมีการเซ่นไหว้เป็นพิเศษ มิฉะนั้นแล้วพวกที่คิดร้ายต่อราชบัลลังก์อาจยกขึ้นมาเป็นเหตุผลหนึ่งในการล้มล้างอำนาจองกษัตริย์เพราะเหตุที่ว่าเป็นผู้ทำให้ฟ้าพิโรธไม่เป็นที่โปรดปรานอีกต่อไป และผู้ที่เข้ามาครอบครองคนใหม่ อาจจะอ้างถึงความชอบธรรมในการล้มล้างราชบัลลังก์กษัตริย์ของจีน จึงมีหน้าที่เป็นศาสนาจารย์โดยปริยาย อำนาจในทางศาสนาจึงอยู่ภายใต้อิทธิพลทางการเมือง
สำหรับประชาชนซึ่งไม่สามารถติดต่อกับพระเจ้าแห่งสวรรค์ได้ดังเช่นกษัตริย์ พวกเขาจะบูชาเทพบริวารองค์อื่น ๆ และวิญญาณบรรพบุรุษเพื่อสร้างความอบอุ่นใจและความมั่นคงในชีวิต ในแต่ละหมู่บ้านจึงมีศาลเจ้าให้กราบไหว้ และในแต่ละบ้านก็จะมีป้ายสถิตดวงวิญญาณของบรรพบุรุษ
ความเชื่อของชาวจีนในเรื่องวิญญาณ ได้แสดงให้เห็นถึงความพยายามที่จะรู้จักและเข้าใจในธรรมชาติ โดยมีเป้าหมายที่จะเข้าใจในชีวิตของตนเอง จึงแสดงออกมาในรูปของความเชื่อแบบวิญญาณนิยม (Animism) ต่อมาเมื่อความรู้ได้พัฒนาขึ้นความเชื่อในเรื่องพระเจ้าค่อย ๆ จางลง นักปราชญ์โบราณ ของจีนได้ค้นพบกฎแห่งธรรมชาติที่ครอบงำความเป็นไปของเอกภพ และแสดงออกมาในรูปของพลังอำนาจทั้ง 2 ด้าน ที่เรียกว่าหยินและหยาง พลังหยินเป็นพลังลบที่แสดงออกถึงความมืด ความลึกลับ ความหนาวเย็น ความเปียกชื้น และความเป็นหญิง พลังนี้ปรากฏอยู่ในดิน พระจันทร์ และเงามืดส่วนพลังหยางเป็นพลังบวก แสดงออกถึงความสว่าง ความอบอุ่น ความแห้ง การสร้างสรรค์ และความเป็นชาย พลังนี้ปรากฏอยู่ในพระอาทิตย์ และสิ่งที่ส่องแสงสว่าง ในเอกภพนี้จะมีพลังทั้งสองอย่างผสมกันในสัดส่วนที่ทำให้เกิดเป็นสิ่งต่าง ๆ ขึ้นมา แต่ถ้าพลังอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่เป็นไปตามสัดส่วนก็จะทำให้ผลที่เกิดขึ้นวิปริตไป
โลกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเอกภพได้ถูกสร้าง ขึ้นมาด้วยพลังอำนาจทั้ง 2 อย่างนี้ทำให้มีสิ่งต่าง ๆ เกิดขึ้นเป็นจำนวนมากนับไม่ถ้วน แต่นักปราชญ์จีนในสมัยโบราณได้พยายามที่จะจัดระบบของมันออกมาเป็นกลุ่ม ๆ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติ ซึ่งจำแนกออกมาได้เป็น 5 ธาตุ คือ ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุไม้ ธาตุโลหะ (ซึ่งมุ่งหมายเฉพาะธาตุทอง) และธาตุดิน
อย่างไรก็ตามแม้นว่านักปราชญ์จีนในสมัยต่อมาจะสอนให้มนุษย์มีความเข้าใจธรรมชาติ โดยใช้ปัญญามากกว่าความงมงาย ผู้ที่จะเข้าใจคำสอนเช่นนี้ได้ก็คงมีแต่ผู้มีปัญญาเท่านั้น คนจีน โดยทั่ว ๆ ไปยังคงนับถือวิญญาณและเทพเจ้า เมื่อวันเวลาผ่านพ้นไปคำสอนของปราชญ์คงเหลือไว้ให้ปัญญาชนศึกษาและขบคิดต่อไป ส่วนสามัญชนยังคงยึดถือในความเชื่อเดิม ๆ เทพเจ้ายังคงได้รับการยกย่องบูชาถูกยึดถือเป็นที่พึ่งต่อไป
ปรัชญาของท่านเหลาจื๊อก็ตกอยู่ภายใต้กฎนี้เช่นกัน กล่าวคือ คำสอนของท่านที่มุ่งให้บุคคลเข้าในในธรรมชาติอย่างผู้มีปัญญา และดำเนินวิถีชีวิตแบบเรียบง่ายที่สุด แต่พอวันเวลาได้ผ่านพ้นไปหลักคำสอน และคัมภีร์เต๋าเต๋อจิงได้ถูกเสริมเติมแต่ง เน้นหนักในทางอภินิหารและเวทมนต์ ทำให้ปรัชญาเต๋าได้เปลี่ยนรูปมาอยู่ในลักษณะของลัทธิศาสนาที่นำเอาความเชื่อในเรื่อง หยินและหยางมาผสมกับความเชื่อดั้งเดิมของชาวจีนที่เคยบูชาพระเจ้าในธรรมชาติ รวมทั้งความเชื่อในทางไสยศาสตร์และการเล่นแร่แปรธาตุ
บุคคลแรกของลัทธิเต๋าที่เป็นผู้ก่อตั้งลัทธิคือนักพรต จางเต๋าหลิง แห่งภูเขาหลุ่งหัวซาน มณฑลเสฉวน นักพรตท่านนี้เคยประกาศว่าตนเองสำเร็จทิพยภาวะติดต่อกับเทพเจ้าได้ ท่านได้ยกให้ท่านเหลาจื๊อเป็นศาสดา และยกย่องคัมภีร์เต๋าเต๋อจิงเป็นสูตรของศาสนา พร้อมทั้งเขียนคัมภีร์เพิ่มขึ้นมาอีกหลายเล่ม แต่ละเล่มล้วนหนักไปในเรื่องของไสยศาสตร์เวทย์มนต์ การเล่นแร่แปรธาตุ และการแสวงหายาอายุวัฒนะ และเชื่อกันว่าพรตผู้นี้มีทิพยอำนาจมากสามารถติดต่อกับวิญญาณต่าง ๆ ได้ รวมทั้งติดต่อกับท่านปรมาจารย์เหลาจื๊อ และมีความสามารถในการปราบปรามเหล่ามารร้ายภูติผีปีศาจได้ด้วยดาบศักดิ์สิทธิ์ซึ่งท่านปรมาจารย์เหลาจื๊อได้มอบให้
สานุศิษย์จึงยกย่องท่านเป็น "เทียน ฉี เช็ง อิ เต๋า" (T'ien - Shih Cheng - Yi Tao) ซึ่งทอมสัน (Laurence G. Thompson. 1979 : 107) ได้แปลว่า "วิถีทางแห่งเอกภาพอันสมบูรณ์ของปรมาจารย์ ผู้ได้รับการแต่งตั้งจากสวรรค์" (Way of Perfect Unity of the Master Designated by Heaven.) หรือตำราหลายเล่มใช้คำว่า "อาจารย์แห่งสวรรค์" (Celestial Teacher) ซึ่งต่อมาเจ้าลัทธิทุกคนได้ใช้สมณศักดิ์นี้กันตลอดมา
ความไม่ธรรมดาของท่านจางเต๋าหลิงนั้นมีผู้เล่ากันมากมาย เช่น ท่านได้รับการบวชเป็นนักพรตโดยวิญญาณของท่านเหลาจื๊อเป็นผู้บวชให้ ท่านสามารถค้นพบสูตรของความเป็นอมตะท่านจึงมีพลังชีวิตที่เป็นทิพย์ ท่านมีดาบศักดิ์สิทธิ์ที่สามารถปราบปีศาจร้ายแม้อยู่ไกลถึง 1,000 ไมล์ และสุดท้ายเชื่อกันว่าท่านขึ้นสวรรค์ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่โดยขี่เสือขึ้นไปทางยอดเขาหลุงหัวซานท่านจางเต๋าหลิง มีอายุยืนถึง 120 ปี
หลังจากนั้นทายาทสกุลจางได้สืบทอดตำแหน่งกันต่อมาตั้งแต่ลูกจนถึงหลาน ลูกหลานของท่านมีส่วนทำให้ลัทธิเต๋ามีความเป็นระบบมากขึ้น นิกายนี้จึงได้ชื่อว่า นิกายเช็งอิ (Cheng - Yi) ซึ่งเน้นในรหัสยลัทธิเชื่อถือโชคลางอภินิหารการเข้าทรงและ คาถาอาคมต่าง ๆ นักบวชในนิกายนี้มีครอบครัวได้เช่นเดียวกับชาวบ้านทั่วไป
ในขณะเดียวกันแนวทางเดิมของท่านเหลาจื๊อยังคงมีอยู่โดยมีผู้สืบทอดพยายามค้นหาความจริงภายในด้วยการดำเนินชีวิตตามแนวทางของท่านปรมาจารย์ พวกนี้ถูกเรียกว่าพวก "ชวน เชน เจียว" (Ch'uan - chen Chiao) ซึ่ง ทอมสัน (Laurence G. Thomson. 1979 : 107) ได้แปลว่า "การสืบทอดการบรรลุสิ่งสัมบูรณ์" (Tradition of Absolute Attainment) พวกนี้มีแนวทางชีวิตคล้ายกับชาวพุทธและนักพรตก็ดำเนินชีวิตเหมือนกับพระในพุทธศาสนา ต้องสละโสด งดน้ำเมา รับประทานอาหารามังสวิรัติ และที่เคร่งครัดมาก ๆ อาจต้องไปอยู่ตามถ้ำในเขาในป่า
วิวัฒนาการของลัทธิเต๋ายังคงมีอยู่ต่อไปเรื่อย ๆ ปัจจุบันนี้ถ้าเราศึกษาคำสอนในลัทธิเต๋า เราอาจจะแปลกใจที่เห็นคำสอนในพุทธศาสนาหลายเรื่องได้เข้าไปแทรกอยู่ทั้งนี้อาจเป็นผลสืบเนื่องมาแต่อดีตในยุคสมัยที่พุทธศาสนามหายานได้เข
"เต๋าไม่เคยกระทำ
แม้กระนั้นทุกสิ่งทุกอย่างก
หากกษัตริย์และเจ้านครสามาร
โลกก็จะเปลี่ยนแปลงไปโดยควา
เมื่อโลกเปลี่ยนแปลงไป และเกิดการกระทำต่าง ๆ ขึ้น
จงปล่อยให้ความเรียบง่ายแต่
ความเรียบง่ายแต่บรรพกาลนี้
มันช่วยขจัดความอยากทั้งปวง
เมื่อขจัดความอยากได้
ความสงบย่อมเกิดขึ้น
ดังนั้นโลกย่อมถึงซึ่งสันติ
(พจนา จันทรสันติ. 2523 : 67)
อย่างไรก็ตามรากฐานสำคัญที่
1. การมีความรัก จะช่วยให้เรากล้าหาญ
2. การทำแต่พอควร จะทำให้เราเป็นคนเรียบง่ายม
3. การไม่เป็นเอกในโลก ทำให้เรารู้จักเป็นผู้ตามที
คุณธรรม 3 ประการนี้เป็นหลักปฏิบัติที
"หวังให้ประเทศเล็กที่มีพลเ
มีอาหารพอที่จะเลี้ยงดูพลเม
มากกว่าที่เขาต้องการถึงสิบ
ให้ประชาชนเห็นคุณค่าของชีว
และไม่ท่องเที่ยวพเนจรไปไกล
ถึงแม้จะมีพาหนะเรือและรถ
ก็ไม่มีใครปรารถนาจะขับขี่
ถึงแม้จะมีเกราะและอาวุธ
ก็ไม่มีโอกาสจะใช้
ให้กลับไปใช้การจดจำเรื่องร
ด้วยการผูกเงื่อนแทนการเขีย
ให้เขานึกว่าอาหารพื้น ๆ นั้นโอชะ
บ้านเรือนธรรมดานั้นสุขสบาย
ประเพณีวิถีชีวิตนั้นน่าชื่
ในระหว่างเพื่อนบ้านนั้นต่า
จนอาจได้ยินไก่ขันสุนัขเห่า
และตราบจนวันสุดท้ายของชีวิ
จะไม่มีใครได้เคยออกไปนอกปร
(พจนา จันทรสันติ. 2523 : 67)
บทที่ 80 นี้ แสดงให้เห็นถึงประเทศในอุดม
ประเทศในอุดมคติของท่านเหลา
ก่อนกำเนิดปรัชญาเต๋านั้นชา
1. ความเป็นวัฎจักรที่หมุนเวีย
2. มีการเกิดและดับตลอดเวลาเช่
3. ความเป็นเอกภาพเดียวกันแม้น
ด้วยสาเหตุดังได้กล่าวมาแล้
อย่างไรก็ตามโดยทั่ว ๆ ไปแล้ว ชาวจีนในสมัยโบราณนั้นนิยมย
สำหรับประชาชนซึ่งไม่สามารถ
ความเชื่อของชาวจีนในเรื่อง
โลกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเอก
อย่างไรก็ตามแม้นว่านักปราช
ปรัชญาของท่านเหลาจื๊อก็ตกอ
บุคคลแรกของลัทธิเต๋าที่เป็
สานุศิษย์จึงยกย่องท่านเป็น
ความไม่ธรรมดาของท่านจางเต๋
หลังจากนั้นทายาทสกุลจางได้
ในขณะเดียวกันแนวทางเดิมของ
วิวัฒนาการของลัทธิเต๋ายังค